วันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ตัวเชื่อมใช้เลือกใช้ตามความหมาย

1. ตัวเชื่อมบอกความคล้อยตาม หรือ เสริมความเพิ่มเติมข้อมูล

ม้กจะมีความหมายเหมือนคำว่า "and" แปลว่า "และ"
2. ประโยคบอกความขัดแย้ง กลุ่มนี้มีความหมายเหมือน "but" แปลว่า "แต่"

While , Although , Though , Eventough , Even if , But

Still,  แต่กระนั้นก็ตาม

Yet, แต่กระนั้นก็ตาม

3. ประโยคให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง

Either ... or   ....หรือ .... (ไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง)

Neither .... nor ....   ไม่ทั้ง .... และ ....(ไม่ทั้งคู่)

4. ประโยคบอกเหตุ ทั้งหมดแปลว่า "เพราะ , เนื่องจาก"

S + V (ผล) + because,since,for + S + V (เหตุ). อ่านต่อ

                                 รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

Tip !! วีธีการสังเกต

ตัวอย่าง 
The teacher speaks so cleary that we understand everything.
คุณครูพูดได้ชัดเจนแจ่มแจ้งมากจนกระทั้งพวกเราเข้าใจหมดทุกอย่างเลย
He is such an annoying man that we avoid talking with him.
เขาเป็นคนน่ารำคาญมากเสียจนกระทั่งพวกเราหลีกเลี่ยงที่จะพูดกับเขา
หรืออาจใช้เป็นตัวเชื่อมคำ
S + V + too + adj/adv. + to + V.inf แปลว่า มากเกินไป
ตัวอย่าง 
This lady is rich enough to buy this castle.
ท่านผู้หญิงคนนี้รวยพอที่จะซื้อประสาทแห่งนี้ อ่านต่อ

                                รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

ความแตกต่างระหว่างตัวเชื่อม 2 ประเภทของconnegtors

1. ตัวเชื่อมความ คือ ตัวเชื่อมที่เชื่อมระหว่าง ประโยค กับ ประโยค
นี่จึงจะถือว่าเป็น Conjunction (ตัวเชื่อม) ของแท้
S + v + Conjunction + S + V ( ประโยค + ตัวเชื่อม + ประโยค)
2. ตัวเชื่อมคำ คือ ตัวเชื่อมที่เชื่อมระหว่าง ประโยค กับ คำ หรือ คำ กับ คำ
นี่เค้าเรียกว่า Preposition (บุพบท) นะตัว ต้องดูให้ดี
S + V + Prep. + n./obj. / pro. / V.ing (ประโยค + บุพบท + คำนาม/กรรม/คำสรรพนาม/ กิริยานาม) อ่านต่อไป
                รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

Conjunction/ Connector

Conjunction/ Connector แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1. การเชื่อมความ คือ การเชื่อม ประโยค กับ ประโยค
2. การเชื่อมคำ คือ การเชื่อม ประโยคหรือคำ กับ คำ
การเลือกตัวเชื่อมมีหลายวิธีด้วยกัน อาจเลือกจากความหมายของประโยค หรือ เชื่อมเพื่อลำดับเวลา เป็นต้น
ตัวเชื่อมประโยคที่เน้นความหมายแบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม เช่น
– ประโยคบอกความคล้อยตามกัน หรือ เสริมความเพิ่มเติม จะใช้
and (และ)
besides (นอกจาก)
as well as (และ , เช่นเดียวกันกับ)
furthermore (ยิ่งไปกว่านั้น)
both … and (ทั้ง … และ)
not only … but also (ไม่เพียงแต่ … แต่ยัง)
in addition (และ)
moreover (ยิ่งไปกว่านั้น) อ่านต่อ
                                     ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักการใช้connectors

connegtors

 คือ  คำเชื่อม ได้แก่

And (และ)

ใช้เชื่อมข้อความคล้อยตาม กันสอดคล้องกันหรือเป็นไปทำนองเดียวกัน เช่น
We eat with fork and a spoon.
Tina and Tom are playing football.

Or (หรือ)
ใช้เชื่อมข้อความเพื่อเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น
Is your house big or small?
Would you like tea or coffee? อ่านต่อ

                                  ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักการใช้connectors

คำศัพท์Gerund



admit ยอมรับ                          finish จบ สำเร็จ

allow    อนุญาต                       forgive ยกโทษ

appreciate ซาบซึ้ง                 fancy นึกถึง/ คิด

avoid    หลีกเลี่ยง                    imagine คิด/ นึก

consider พิจารณา                   mind รังเกียจ/ ใจจดจ่อ

delay ประวิง/ ทำให้ช้า             miss พลาด

defer รอ/ ผลัด                           practice ฝึก

deny ปฏิเสธ                              risk เสี่ยง

detest  เกลียด                          resent เคือง/ ไม่พอใจ


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ คำศัพท์gerund


gerund

 Gerund คือ คำกริยา + ing หรือ v-ing
    Gerund มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับ present participle แต่ทำหน้าที่ต่างกัน นั่นคือ present participle ทำหน้าที่เป็น ‘predicative adjunct’ และ ‘คุณศัพท์’ ส่วน
gerund ทำหน้าที่เป็น ‘คำนาม’
    เมื่อ gerund เป็น ‘คำนาม’ gerund จึงทำหน้าที่ได้ดังต่อไปนี้
    1. ใช้เป็นประธานของประโยค

    2. ใช้เป็นกรรมของบุพบท

    3. ใช้เป็นกรรมของคำกริยา vt

    4. ใช้ตามหลัง verb to be เพื่อแสดงตัวตนของประธาน (subjective comple-ment)  อ่านต่อ


                             ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การใช้gerund

ตัวเชื่อมใช้เลือกใช้ตามความหมาย

1. ตัวเชื่อมบอกความคล้อยตาม หรือ เสริมความเพิ่มเติมข้อมูล ม้กจะมีความหมายเหมือนคำว่า "and" แปลว่า "และ" 2. ประโยคบอกค...